วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ความงาม

ความงาม หรือความงดงามเปนสิ่งที่มนุษยทุกชาติทุกภาษาทุกเผาพันธุตองการ เพราะความงามเปนสิ่งสําคัญที่กระตุนใหมนุษยเกิดความจรรโลงใจขณะที่ประสบพบเจอ เชน เราเห็นนางงามจักรวาลผานทางจอโทรทัศน เราทุกคนตางตองการอยากจะพบตัวจริงของเธอ หรือแมแตเวลาที่เราขับรถผานแหลงธรรมชาติที่มีความงาม เราก็อยากจะจอดรถลงชมวิวทิวทัศนที่สวยงาม การไดเสพสิ่งที่สวยงามเปรียบเสมือนไดเสพสิ่งที่เปนทิพย ทําใหชีวิตมีชีวา เกิดความสุนทรียะในขณะเดียวกันหากชีวิตของมนุษยปราศจากประสบการณที่ไมงดงาม ก็อาจทําใหเขากลายเปนบุคคลที่มีบุคลิกภาพเหงา ซึม มองโลกในแงราย ไมราเริงสดใส ดังนั้น ความงามจึงเปนสิ่งที่สําคัญ และจําเปนสําหรับชีวิตของมนุษยเปนอยางมากทีเดียว บางคนถึงขนาดลงทุนดวยเงินที่เก็บออมมาตลอดชีวิตเพื่อไปทําการศัลยกรรมตกแตงรางกายใหดูแลวนาพึงพอใจก็มีใหเห็นในสังคมปจจุบัน เมื่อความงามมีความสําคัญดังกลาวจําเปนที่เราจะตองทําความเขาใจกับความงาม

ความหมายของความงาม
ความงาม ในทางวิชาการเปนปญหาที่ถกเถียงกันมาตลอดประวัติศาสตรอันยาวนาน จนกลายมาเปนศาสตรที่มีการศึกษาเกี่ยวกับความงามอยางเปนระบบ เรียกวา สุนทรียศาสตร กลาวคือ เริ่มมีคนสนใจตั้งคําถามวา ความงามคืออะไร ความงามมาจากไหน การที่จะบอกวางามได มีกฎเกณฑอะไรในการพิจารณาตัดสินความงามนักปราชญหลายทานที่สนใจ ตางพยายามใหความหมายและนิยามในลักษณะตางๆซึ่งสอดคลองกันบางแตกตางกันบางดังนี้โปลตินุส (Plotinus) นักปรัชญากรีกโบราณ ใหอรรถาธิบายไววา ความงามคือความชัดเจนแจมแจงของเหตุผลของพระเจาหรือการแสดงออกของสิ่งสัมบูรณ(Absolute)

ออกัสติน (Augustine) นักคิดทางศาสนาคริสตในยุคกลาง ไดกลาวถึงความงามวา สุดทายแลว ความงามที่มนุษยรับรูดวยประสาทสัมผัสนั้น เปนเพียงความงามที่แสดงออกในภายนอกเทานั้น แตความงามที่สัมบูรณ คือ ความงามที่มนุษยไดรับมาจากการแสดงออกของพระสิริ (Glory)ที่มาจากพระเจา

อไควนัส (Aquinas) นักปรัชญาคนสําคัญของยุคกลางไดอธิบายไววา ความงามคือสิ่งที่ใหเกิดความเพลิดเพลินเมื่อไดรูไดเห็น ความงามและความดี โดยเนื้อแทแลวเปนสิ่งเดียวกัน เพราะทั้งสองอยางขึ้นอยูกับรูปแบบ สัดสวน ระเบียบและความกลมกลืน แตความงามสูงสุดยอมมีที่มา และพระเจาคือผูประทานความงามและความดี

อิมมานูเอลคานต(Immanuel Kant) ถือวาความงามเปนเรื่องของความรูสึกโดยกลาววาความงามก็คือผลของความรูสึกวางามคานตปฏิเสธวาสีมีความงาม เขากลาววามันเปนที่ยอมรับกันอยางนั้นความพึงพอใจซึ่งเปนที่ตกลงกันเกี่ยวกับสีอาจถูกทําใหรูสึกเพลิดเพลินเจริญใจไปตามรูปทรงที่นําพาสีแตทั้งสองนี้(สีและรูปทรง) แตกตางกันเพียงรูปทรงเทานั้นที่มีความงาม(http://midnightuniv.org/midnight 2545/ document9696.html)

สันตายนา (Santayana) นักปรัชญายุคปจจุบันก็มีทรรศนะวา ความงามคือการสรางความรูสึกของอาเวคใหเปนรูปราง กลาวคือ สิ่งที่กระตุนใหประสาทสัมผัสของมนุษยเกิดความรูสึกที่เปนสุนทรียะนั่นเอง
แตแลงเฟลด ถือวา ความงามเปนสิ่งที่สัมพัทธ เขากลาววา ความงามคือสัมพันธภาพระหวางสิ่งทั้งสองสิ่งคืออินทรียของมนุษยกับวัตถุแหงสุนทรียะมีความสัมพันธกันอยางเหมาะสมไอเยนจาร (Iyengar) มีทรรศนะ คลาย ๆ แลงเฟลด เขาอธิบายไววา ความงาม คือความพอใจอันเกิดจากความประทับใจในความกลมกลืนกันอยางพอเหมาะของรูปทรงอันชวนคิดของศิลปวัตถุกับความหมายของอาเวคหรือความคิดที่ทําใหใจเพลิดเพลินอยางลึกซึ้ง ฉะนั้น ความงามจึงเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากความสัมพันธระหวางบุคคลที่มีความสนใจกับวัตถุที่นาสนใจ
สวนคีตส (Keats) นักคิดผูเชี่ยวชาญดานสุนทรียศาสตรที่มีชื่อคนหนึ่งไดนิยามความงามไวสั้นๆ วา “ความจริงคือความงาม และความงามก็คือความจริง” ซึ่งก็คลาย ๆ กับความคิดของชาวญี่ปุนที่ถือวาสิ่งที่สวยงามก็คือสิ่งที่ดีสิ่งที่นาเกลียดก็คือสิ่งที่เลวแตในยุคแหงวิทยาศาสตรเฟองฟู มีนักปราชญหลายทานไดใหความหมายความงามในทางชีววิทยา โดยอธิบายวา ความงามคือภาวะที่กระบวนการทางชีววิทยาของมนุษยถึงความสมบูรณเต็มที่ประดุจการคลี่บานของดอกไมเปนอาการที่มนินทรีย(จิตใจ) และกายินทรีย(รางกาย) กระทําการพิจารณาตัดสินสิ่งแวดลอมรอบตัวเองไดอยางสมบูรณครบถวน ซึ่งภาวะดังกลาวนี้เปนกิจกรรมที่จะปรากฏออกมาทางศิลปะ ฉะนั้น ความงาม จึงเปนรูปแบบกิจกรรมที่มนุษยใชเปนเครื่องมืออธิบายตนเองโดยสรางวัตถุภายนอกขึ้นมาแลวใส่ความหมายเชิงรูปแบบ (Formal meaning) ลงไปในวัตถุนั้น โดยสรุปแลว ความงามในทัศนะของนักปราชญตางมีความคลายคลึงกันโดยใหความสําคัญกับจิตใจของมนุษยที่สัมพันธกับวัตถุแหงสุนทรียะ จากนั้น จึงมีการ สรางกระบวนการใหความหมายในวัตถุสิ่งนั้นจนยอมรับกันวา เปนความงาม แตเมื่อกลาวถึงที่มาของความงาม ยอมมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด

แหลงที่มาของความงาม
ความงาม แมวาจะถูกกลาวถึงในความหมาย หรือนิยามที่ตางกันและคลายคลึงกัน แตเมื่อมีการตั้งคําถามวา ความงามมาจากไหน ก็มีนักปราชญใหความสนใจ และพยายามหาคําตอบ โดยประมวลคําตอบมายอสรุปกลาวไดวา ความงามมีแหลงที่มาจาก 2 แหลงคือ ความงามที่มาจากธรรมชาติและความงามที่มาจากศิลปะซึ่งมนุษยสรางขึ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น